ทางรถไฟสายมรณะ

เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษาที่ 2/2557 หน่วย: "ทางรถไฟสายมรณะ"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :

- นักเรียนเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ ที่มีความสอดคล้องเชื่อมโยง จากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีผลกระทบต่อสังคมปัจจุบัน
- สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภราดรภาพและเคารพความแตกต่างทางความคิด วัฒนธรรมของแต่ละสังคม ตลอดจนเคารพสิทธิของผู้อื่นและตนเอง

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)




คำถามหลัก(Big  Question)  : เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในอดีตที่เกิดขึ้น ส่งผลต่อสังคมปัจจุบันและอนาคตอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา
          
ทำไมสะพานข้ามแม่น้ำแคว จึงเป็นชื่อที่รู้จักและโด่งดังไปทั่วโลก มิใช่เพราะความอลังการหรืองดงามตระการตาใด ๆ  หากแต่คำตอบแท้จริงมันคือความโหดร้ายทารุณที่เกิดขึ้นในอดีตอันขมขื่น  ณ ที่แห่งนั้นต่างหาก  ที่เป็นเสน่ห์อันเร้าใจไม่มีวันจบสิ้น หากจะย้อนมองให้ลึกซึ้งลงไปอีก ความเศร้าสลดสยดสยองที่เกิดขึ้น จนกลายเป็นประวัติศาสตร์ยากที่จะหาใดเสมอเหมือนได้นั้น แท้จริงมันอยู่บนเส้นทางรถไฟที่ทอดผ่านสะพานข้ามแม่น้ำแคว ซึ่งมีระยะทางยาวไม่กี่ร้อยกิโลเมตร ที่ใช้เวลาสร้างอันรวดเร็วและสำคัญที่สุดก็คือ ต้องสูญเสียชีวิตคนไปถึงหนึ่งแสนคน เจ็บป่วย และพิการอีกหลายหมื่นคน เพราะความโหดร้ายทารุณ จนทางรถไฟสายนี้มีชื่อว่า “ทางรถไฟสายมรณะ”
          แต่
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ก็นำมาสู่การแยกพวกฉัน พวกเธอ เธอเคยย่ำยีพวกฉัน สุดท้ายนำมาสู่ความขัดแย้งไม่มีที่สิ้นสุด ประวัติศาสตร์มีไว้แค่พิจารณา อาจไม่พอจะเป็นบทเรียนด้วยซ้ำ ตั้งสมมติฐานไว้เสมอว่าข้อมูลที่ได้มาเป็นเพียงข้อเท็จ-จริง (อาจไม่ใช่ความจริงทั้งหมด) เพราะเกิดจากคนบางกลุ่มแต่งแต้มขึ้น ประวัติศาสตร์เอาไว้พิจารณา อนาคตเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องรับผิดชอบ  หากผู้เรียนมีหัวใจที่เปิดกว้างและศึกษา โดยไม่นำเอาอคติส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง ประกอบกับวิธีการเรียนที่ไม่ใช่แค่การท่องจำ  หากแต่เป็นการเรียนที่ใช้ความคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความข้อเท็จจริง และข้อมูลต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอันจะนำไปสู่การแตกกิ่งก้านสาขาความเข้าใจใหม่ๆ ที่จะทำให้เรามีมิติของมุมมอง ไม่ใช่เป็นแค่เพียงการจดจำเรื่องราวในอดีตที่จบสิ้นไปแล้ว  จากปัญหาดังกล่าวมาข้างต้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จึงสนใจและอยากเรียนรู้ ทางรถไฟสายมรณะเพื่อเรียนรู้ปัญหาความขัดแย้งของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อปัจจุบัน






ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL ( Problem Based  Learning )
                                                          หน่วย  : ทางรถไฟสายมรณะ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Quarter 4  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2557
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 1 : นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น และอธิบายสิ่งที่ตนเองสนใจและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงเพื่อสร้างความเข้าใจของตนเอง และเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
1

12–16
..
2558
โจทย์ : สร้างฉันทะ/ตั้งชื่อหน่วย
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในคลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ
Key  Questions :
- นักเรียนเห็นอะไรจากการดูคลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ และรู้สึกอย่างไร?
- ทำไมหนึ่งไม้หมอนต้องหนึ่งชีวิต ?

- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใด?
- สิ่งที่นักเรียนอยากเรียนรู้ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆอย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share  ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นเนื้อหาที่อยากเรียนรู้
- Think  Pair Share ตั้งชื่อหน่วยใน Quarter ที่ 4
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานสรุป
การเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้และกระตุ้นการคิดด้วยคลิปวีดีโอพื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ

- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะตอนที่ 1”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม ถ้าเป็นบุคคลในเหตุการณ์ช่วงสร้างทางรถไฟนักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรและจะทำอย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ และตอบคำถาม “ถ้าเป็นบุคคลในเหตุการณ์ช่วงสร้างทางรถไฟนักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรและจะทำอย่างไร?
- นักเรียนสรุปความเข้าใจของตนเองลงในสมุด
- ครูทบทวนกิจกรรมชั่วโมงที่ผ่านมา แล้วเปิดคลิปวีดีโอ
พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะตอนที่ 2”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
นักเรียนเห็นอะไรและรู้สึก
อย่างไร ได้เรียนรู้อะไร/ เหตุการณ์ใดที่สำคัญ /ส่งผลกระทบอย่างไร และแนวทางการแก้
ปัญหา ?/ ทำไมหนึ่งไม้หมอนต้องหนึ่งชีวิต?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ และตอบคำถาม “ทำไมหนึ่งไม้หมอนต้องหนึ่งชีวิต”
- นักเรียนสรุปความเข้าใจของตนเองผ่านชาร์ตความรู้และนำเสนอร่วมกัน โดยผ่านเครื่องมือคิด
(
Show and Share)
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่อยากเรียนรู้ร่วมกันแล้วครูก็กระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใด?
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและช่วยกันตั้งชื่อหน่วยใน Quarter ที่ 4 โดยผ่านเครื่องมือคิด (Think  Pair  Share และ Blackboard  Share)
- นักเรียนร่วมกันเขียนหัวข้อหน่วยและตกแต่งระบายสีให้สวยงามเพื่อติดหน้าห้องเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหาจากการดูคลิปวีดีโอ

ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้ความเข้าใจสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1

ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น และอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และต้องการรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิง เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองและเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชาร์ตถ่ายทอดความเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำชิ้นงานได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
- สามารถจัดหมวดหมู่ของหัวข้อสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
- สามารถเชื่อมโยงความสอดคล้องของเนื้อหาเข้ากับกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ได้
- สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากคลิปวีดีโอ
พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
- สามารถรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 2: สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
2

19-23
..
2558
โจทย์ : กระบวนการออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
Key  Question :
 นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter ที่ 4 อย่างไรให้เกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวภาพยนตร์เรื่อง The Railway Man
- Round Rubin  ระดมความคิดเห็นทำปฏิทินการเรียนรู้ประจำ Quarter ที่ 4
- Mind  Mapping ก่อนการเรียนรู้
- Wall  Thinking ปฏิทินการเรียนรู้
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ตัวอย่างภาพยนตร์The Railway Man


- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกันเกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะ”
- ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างภาพยนตร์The Railway Man
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากสิ่งที่ได้ดูโดยผ่านเครื่องมือคิด(Round Rubin)
- นักเรียนเขียนความรู้สึกที่กระทบต่อจิตใจจากการดูภาพยนตร์ตัวอย่าง The Railway Manลงในสมุด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนรู้และเข้าใจอะไรเกี่ยวกับทางรถไฟสายมรณะ?
- นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือคิด(
Blackboard  Share)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยทางรถไฟสายมรณะ”                   
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter ที่ 4 อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
- นักเรียนทุกคนระดมความคิดและลงมือทำปฏิทินการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยทางรถไฟสายมรณะประจำ Quarter ที่ 4
:
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ของตนเอง
ในรูปแบบ Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทุกคน Show and Share นำเสนอชิ้นงาน Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้ของตนเองให้ครูและเพื่อนๆ ฟัง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2

ภาระงาน
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสิ่งที่ได้ดูและร่วมออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้หน่วย ทางรถไฟสายมรณะ

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้ รายสัปดาห์ Quarter ที่ 4
- Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2

ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
- สามารถจัดหมวดหมู่ของหัวข้อสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
- สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ในการออกแบบวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้ได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- คิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
พบเห็นสู่การเรียนวิชาโครงงาน  เช่น  เขียน
สิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงได้
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 3: สามรถแยกแยะและจัดหมวดหมู่ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เบื้องต้นได้อย่างมีวิจารณญาณ
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
3

26 – 30
ม.ค. 2558
โจทย์ : หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Key  Questions :
- นักเรียนเห็นอะไรจากการดูคลิปวีดีโอ การสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และรู้สึกอย่างไร?
- สิ่งต่างๆ รอบตัวเรา มีอะไรบ้างที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพราะเหตุใด?
- นักเรียนจะวางแผนการสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในป่าโคกหีบอย่างไร?
- นักเรียนเห็นอะไรจากบุหีบบ้าง?
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้สำรวจพบ มีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงกับสิ่งมีชีวิตอื่นและตัวเราอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และการขุดค้นทางโบราณคดี
- Jig Saw การแบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- Mind Mapping  การค้นหาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ผ่านอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลอื่น
- Brainstorms  แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- Wall  Thinking  ชิ้นงาน
- Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/ กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จากหลากหลายแหล่งข้อมูล
- แหล่งโบราณสถาน ป่าโคกหีบ
- ผู้ปกครอง
- บรรยากาศภายใน/ภายนอกชั้นเรียน

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ดูคลิปเรื่อง “การขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดี”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไรจากการดูคลิปวีดีโอ “การสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และรู้สึกอย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ“การสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์โดยผ่านเครื่องมือคิด (Round Rubin)
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้ดูจากคลิปผ่านชิ้นงานFlowchart
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราหรืออยู่ในชุมชนของเรามีอะไรบ้างที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพราะเหตุใด?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันและตอบคำถาม“สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราหรืออยู่ในชุมชนของเรามีอะไรบ้างที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพราะ เหตุใด?โดยผ่านเครื่องมือคิด (Round Rubin)
- ครูให้นักเรียนค้นหาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ผ่านอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลอื่น
- นักเรียนค้นหาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ผ่านอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลอื่น แล้วสรุปความเข้าใจโดยผ่านเครื่องมือคิด (Mind Mapping)
- ครูและนักเรียน พูดคุยวางแผนการสำรวจ ตรวจสอบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อเตรียมตัวทำกิจกรรมในชั่วโมงถัดไป
- ครูทบทวนกิจกรรมชั่วโมงที่ผ่านมา ครูให้นักเรียนวางแผนการออกสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะวางแผนการสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในป่าโคกหีบอย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือคิด (Round Rubin)
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ 4 คน เพื่อให้ระดมความคิดในการวางแผนก่อนการออกสำรวจหลักฐานในแหล่งเรียนรู้ในชุมชน (ป่าโคกหีบ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการออกไปสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในป่าโคกหีบ
- นักเรียนเดินทางไปป่าโคกหีบเพื่อสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไรจากบุหีบบ้าง?
- ครูกำหนดพื้นที่ที่จะให้นักเรียนได้สำรวจหลักฐาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกย้ายกันลงพื้นที่ของกลุ่มตนเองเพื่อสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี
- จากนั้นนักเรียนนำข้อมูล ภาพวาดหลักฐานที่พบ มาสรุปลงในชาร์ตความเข้าใจ ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์แยกแยะและจัดหมวดหมู่ของหลักฐานที่กลุ่มตนเองได้มา พร้อมตกแต่งชิ้นงานให้สวยงามและน่าสนใจ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามในการนำเสนอ “หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้สำรวจพบ มีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงกับสิ่งมีชีวิตอื่นและตัวเราอย่างไร?
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสำรวจแหล่งโบราณสถานป่าโคกหีบ
- นักเรียนนำเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกันและเชื่อมโยงในการตอบคำถาม “หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้สำรวจพบ มีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงกับสิ่งมีชีวิตอื่นและตัวเราอย่างไร?โดยผ่านเครื่องมือคิด (Show and Share)
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับคลิปวีดีโอ“การขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดี”
- วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และจัดหมวดหมู่หลักฐานทางประวัติศาสตร์และความคิดเห็นของทุกคนในกลุ่ม
- นำเสนอชาร์ตความเข้าใจ

ชิ้นงาน
- Mind Mapping  จากการค้นหาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ผ่านอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลอื่น
- สรุปชาร์ตความเข้าใจจากข้อมูล หลักฐานที่สำรวจพบ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3

ความรู้
สามารถแยกแยะและจัดหมวดหมู่ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เบื้องต้นได้อย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
- การวางแผนการค้นคว้าได้อย่างเป็นระบบ
- สามารถจัดหมวดหมู่ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ค้นพบได้
- สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- คิดจินตนาการเชื่อมโยงและแยกแยะข้อมูลจากสิ่งที่ได้พบเห็นและค้นคว้า
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตาม เป้าหมาย
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
- รู้เวลาและหน้าที่ของตน
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 4 : นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกี่ยวกับเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
4

2 - 6
ก.พ.
2558
โจทย์ : สงครามโลก
- ความเกี่ยวพันธ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1กับ 2
- สงครามโลกครั้งที่ 2 กับเส้นทางรถไฟสายมรณะ
- การเปรียบเทียบศักราช พ
.. /../.. ฯลฯ
Key  Questions :
- สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นได้อย่างไรและมีความเกี่ยวพันธ์อย่างไรกับสงครามโลกครั้งที่ 2?
- สงครามโลกครั้งที่ 2 กับเส้นทางรถไฟสายมรณะมีความเกี่ยวพันธ์กันอย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยสงครามโลก ส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบันอย่างไร ?
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลในสมัยสงครามโลกที่นักเรียนได้รับเป็นข้อมูลเท็จ/จริงหรือไม่ อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1-2 ส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบัน
- Jig Saw  การแบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1-2
- Wall  Thinking  ชิ้นงาน
- Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/ กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ข้อมูลสงครามโลกครั้งที่ 1-2 จากหลากหลายแหล่งข้อมูล
- ห้องสมุด
- Internet / Computer
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นได้อย่างไรและมีความเกี่ยวพันอย่างไรกับสงครามโลกครั้งที่ 2?” แล้วแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มๆละ 4 คนเพื่อศึกษาข้อมูลจากหลากหลายแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 1-2
- นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านข้อมูลที่ได้รับ มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้นร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบวางแผนการนำเสนอเรื่องที่ศึกษาเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในรูปแบบที่ตนเองสนใจ            ( Flow Chart  ,ละคร,นิทาน,ชาร์ตความรู้,แต่งเพลง,เกม)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในรูปแบบที่ตนเองสนใจ ( Flow Chart  ,ละคร,นิทาน,ชาร์ตความรู้,แต่งเพลง,เกม)

- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสงครามโลกครั้งที่1-2เกิดขึ้นได้อย่างไร จากนั้นครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “สงครามโลกครั้งที่ 2 กับเส้นทางรถไฟสายมรณะมีความเกี่ยวพันธ์กันอย่างไร?

- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสงครามโลกครั้งที่ 2 กับเส้นทางรถไฟสายมรณะ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลจากที่ได้ค้นคว้า
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการศึกษาข้อมูลและนำเสนองานของกลุ่มต่างๆในรูปแบบ Mind Mapping
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยสงครามโลก ส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบันอย่างไร?
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2
- นักเรียนเขียนผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ลงในสมุด
- ครูฝากคำถามเกี่ยวกับอักษรย่อของศักราช เช่น พ.. /../.. ฯลฯ
- ครูและนักเรียนทบทวนการบ้านเกี่ยวกับตัวอักษรย่อของศักราช เช่น พ.. /../.. ฯลฯ และลองเปรียบเทียบศักราชร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “นักเรียนคิดว่าข้อมูลในสมัยสงครามโลกที่นักเรียนได้รับเป็นข้อมูลเท็จ/จริงหรือไม่ อย่างไร?” โดยนักเรียนตอบตามความคิดของตนเองลงในกระดาษ โดยใช้เครื่องมือคิด (ชักเย่อความคิด)                                                                       - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้”                                                  - นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1-2 จนถึงปัจจุบัน

ชิ้นงาน
- Flow Chart  ,ละคร,นิทาน,ชาร์ตความรู้,แต่งเพลง,เกม จากข้อมูลที่ได้ศึกษา
- ชักเย่อความคิด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4




ความรู้
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกี่ยวกับเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
- สามารถจัดหมวดหมู่ของเหตุการณ์ที่สำคัญในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1-2 ได้
ทักษะการคิด
สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ในการออกแบบชิ้นงานในรูปแบบของ
Flow Chart  ,ละคร,นิทาน,ชาร์ตความรู้ จากข้อมูลที่ได้ศึกษา
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 5 : นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
5

9 - 13
ก.พ.
2558
โจทย์ : การสร้างทางรถไฟสายมรณะ
Key  Questions :
- เส้นทางรถไฟสายมรณะมีที่มาอย่างไร?
- หนึ่งไม้หมอนต่อหนึ่งชีวิตคืออะไร?
- เส้นทางรถไฟสายมรณะส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบันอย่างไร
?
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลการสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะที่นักเรียนได้รับเป็นข้อมูลเท็จ/จริงหรือไม่ อย่างไร
?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  พูดคุย แลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาในการสร้างละครประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ
- Wall  Thinking  เค้าโครงละครประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ                                                                - Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)    
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน-
 ภาพยนตร์เรื่อง The Railway Man
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ชมภาพยนตร์เรื่อง The Railway Man
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันจากสิ่งที่ได้ดู แล้วครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ “เส้นทางรถไฟสายมรณะมีที่มาอย่างไร?
- นักเรียนค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วช่วยกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อเท็จจริงจากข้อมูลในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
- นักเรียนสรุปข้อมูลที่เสร็จสมบูรณ์ลงในสมุดของตนเอง
- ครูและนักเรียนทบทวนบทละครที่ตนเองได้รับร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม หนึ่งไม้หมอนต่อหนึ่งชีวิตคือ อะไร?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของ “หนึ่งไม้หมอนต่อหนึ่งชีวิต”

- นักเรียนสรุปข้อมูลลงในสมุดของตนเอง

- ครูและนักเรียนทบทวนบทละครที่ตนเองได้รับร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม เส้นทางรถไฟสายมรณะส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบันอย่างไร?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบของการสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะ
- นักเรียนสรุปข้อมูลลงในสมุดของตนเอง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าข้อมูลการสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะที่นักเรียนได้รับเป็นข้อมูลเท็จ/จริงหรือไม่ อย่างไร? และ “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับข้อมูลของการสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะที่ได้รับมาเป็นข้อมูลเท็จ/จริงหรือไม่ อย่างไร และสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันในสัปดาห์นี้
- นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเส้นทางสายมรณะ ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง                                            - นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

 ภาระงาน
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเส้นทางรถไฟสายมรณะส่งผลอย่างไรต่อตัวเราและสังคมในปัจจุบันอย่างไร ?

ชิ้นงาน
- สรุปการสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะ
- การ์ตูนช่องเรื่องราวทางรถไฟสายมรณะ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5

ความรู้
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
- สามารถจัดหมวดหมู่ของเหตุการณ์ที่สำคัญในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะได้
- สามารถคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลและลำดับเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะอย่างมีวิจารณญาณ
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- การคิดเชื่อมโยงและเห็นคุณค่าของสิ่งรอบๆ ตัวเรา ที่มีผลต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 6: นักเรียนสามารถออกแบบวางแผนการเดินทาง และออกแบบการสร้างสารคดีตามร่องรอยประวัติศาสตร์ทางรถไฟสายมรณะได้สร้างสรรค์
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
6

16 - 20
ก.พ.
2558
โจทย์ :
- ทัศนศึกษาทางรถไฟสายมรณะ
- แผนที่
- ถ่ายทำสารคดี
- การเดินทางไปทัศนศึกษา
- วัฒนธรรม และประเพณี
Key  Questions :
- นักเรียนอยู่ที่ไหนในตอนนี้?
- นักเรียนจะไปจังหวัดกาญจนบุรีได้อย่างไร?
- นักเรียนจะถ่ายทอดการเดินทางตามร่อยประวัติศาสตร์เส้นทางสายมรณะสู่ผู้อื่นอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเดินทาง และการถ่ายทำสารคดีตามร่อยประวัติศาสตร์ทางรถไฟสายมรณะ
- Wall  Thinking  เค้าโครงการทำสารคดี
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-แผนที่
- เส้นทางรถไฟสายมรณะ จังหวัดกาญจนบุรี

- ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา แล้วกระตุ้นด้วยคำถามต่อไปนี้
- นักเรียนอยู่ที่ไหนในตอนนี้
?
- นักเรียนจะไปจังหวัดกาญจนบุรีได้อย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับตำแหน่งที่อยู่ของตนเอง
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
8 กลุ่มเพื่อไปศึกษาเส้นทาง ไปจังหวัดกาญจนบุรีโดยใช้แผนที่ประเทศไทย
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเส้นทางที่ใกล้ที่สุด และปลอดภัยในการเดินทางร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนเส้นทางในการเดินทางไปจังหวัดกาญจนบุรี
- แผนที่การเดินทางไปจังหวัดกาญจนบุรี
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะถ่ายทอดการเดินทางตามร่อยประวัติศาสตร์เส้นทางสายมรณะสู่ผู้อื่นอย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการถ่ายทอดการเดินทางตามร่อยประวัติศาสตร์เส้นทางสายมรณะ
- ครูและนักเรียนแบ่งงานรับผิดชอบทำสารคดีถ่ายทอดการเดินทางตามร่อยประวัติศาสตร์เส้นทางสายมรณะ โดยครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มรับผิดชอบตามงานที่วางไว้
เกี่ยวกับการถ่ายทอดการเดินทางตามร่อยประวัติศาสตร์เส้นทางสายมรณะ เช่น ฝ่ายเขียนบท ,ฝ่ายช่างกล้อง,ฝ่ายตัดต่อ,พิธีกร ฯลฯ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม  “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้” และนักเรียนต้องเตรียมตัวอย่างไรไปทัศนศึกษาพรุ่งนี้
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งเรียนรู้มา และอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมไปทัศนศึกษา
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6
- นักเรียนจดอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมไปทัศนศึกษาที่จังหวัดกาญจนบุรี
หมายเหตุ นักเรียนชั้น ป.4 ไปทัศนศึกษาที่จังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 21-22 .. 2558

ภาระงาน
- นำเสนอเส้นทางการเดินทางไปจังหวัดกาญจนบุรี
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มา และอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมไป               ทัศนศึกษา

ชิ้นงาน
- จดอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมไปทัศน-ศึกษาที่จังหวัดกาญจนบุรี
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6


ความรู้
นักเรียนสามารถออกแบบวางแผนการเดินทาง และทำสารคดีตามร่องรอยประวัติศาสตร์ทางรถไฟสายมรณะได้สร้างสรรค์
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถทำชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
- การวางแผนก่อนการออกเดินทางได้อย่างรอบคอบ
ทักษะการคิด
- การออกแบบเค้าโครงสารคดีได้อย่างสร้างสรรค์
- วางแผนก่อนการออกเดินทางได้อย่างเป็นระบบ
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- สามารถคิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
พบเห็นสู่การเรียนวิชาโครงงาน เช่น การ์ตูนช่อง
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา

เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 7: นักเรียนสามารถสร้างสารคดีตามร่องรอยประวัติศาสตร์ทางรถไฟสายมรณะได้สร้างสรรค์
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
7

23 - 27
ก.พ.
2558
โจทย์ :
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการไปทัศนศึกษา
- สร้างสื่อสารคดี
Key  Questions :
- ความรู้สึกและสิ่งที่ได้จากการไปทัศนศึกษาในครั้งนี้?
- สิ่งที่ได้จะสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?
- จากสิ่งที่เราได้จากการเดินทางไปทัศนศึกษาในครั้งนี้ เราจะถ่ายทอดให้ผู้อื่นด้วยวิธีใดได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในการไปทัศนศึกษาที่จังหวัดกาญจนบุรีที่ผ่านมา
- Brainstorms  แสดงความคิดร่วมกันในการวางแผนตัดต่อคลิปวีดีโอ
- Wall Thinking  ชิ้นงาน
- Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- คอมพิวเตอร์ (Computer)
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน


- ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา และทบทวนการไปทัศนศึกษาที่ผ่านมา แล้วกระตุ้นด้วยคำถามต่อไปนี้
- ความรู้สึกและสิ่งที่ได้จากการไปทัศนศึกษาในครั้งนี้?
- สิ่งที่ได้จะสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน โดยผ่านเครื่องมือ (Round Rubin)  
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการไปทัศนศึกษา ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย  เช่น   Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “จากสิ่งที่เราได้จากการเดินทางไปทัศนศึกษาในครั้งนี้ เราจะถ่ายทอดให้ผู้อื่นด้วยวิธีใด?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นในการที่จำทำสื่อถ่ายทอดประสบการณ์ในการเดินทางไปทัศนศึกษาในครั้งนี้
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม (แบ่งกลุ่มก่อนเดินทางแล้ว) ระดมความคิด พูดคุย วางแผนก่อนการตัดต่อสารคดีเพิ่มเติมหลังจากที่ได้ถ่ายทำมาแล้ว
- ครูให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการในการตัดต่อสารคดีของแต่ละกลุ่ม
- นักเรียนร่วมกันตัดต่อวีดีโอสารคดีของกลุ่มตนเอง โดยใช้โปรแกรม Sony Vegas Pro 11
- นักเรียนร่วมกันตัดต่อวีดีโอสารคดีของกลุ่มตนเอง โดยใช้คอมพิวเตอร์ (ต่อ)
- นักเรียนร่วมกันตัดต่อวีดีโอสารคดีของกลุ่มตนเอง โดยใช้คอมพิวเตอร์ (ต่อ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนให้เพื่อนในชั้นเรียนได้ชมผลงานของกลุ่มตนเอง และเสนอความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้สึกและสิ่งที่ได้เรียนรู้ในการไปทัศนศึกษาที่ผ่านมา รวมทั้งการนำมาปรับใช้ในชีวิต ประจำวัน
- การรวมมือกันภายในกลุ่มเพื่อทำสื่อสารคดี

ชิ้นงาน
- สื่อสารคดี
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการไปทัศน-ศึกษาผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
ความรู้
นักเรียนสามารถสร้างสารคดีตามร่องรอยประวัติศาสตร์ทางรถไฟสายมรณะได้สร้างสรรค์
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถออกแบบและทำผลงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
- ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ICT
ทักษะการคิด
- สามารถเรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการไป                 ทัศนศึกษาผ่านการทำสารคดีได้
- คิดวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลและลำดับเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟที่ได้จากการไปทัศนศึกษาได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น ตั้งใจชมสารคดี
- สามารถคิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นจากการไปทัศนศึกษาสู่การทำสื่อ เช่น สื่อสารคดี
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 8: นักเรียนสามารถออกแบบการการเขียนเค้าโครงบทละครและฝึกซ้อมละครทางด้านประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์และมีวิจารณญาณ
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
8

2-6
มี..
2558
โจทย์ :
- การเขียนเค้าโครงบทละครทางด้านประวัติศาสตร์
- การฝึกซ้อมบทบาทสมมติผ่านละครทางด้านประวัติศาสตร์
Key  Questions :
- นอกจากการนำเสนอความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้ไปค้นคว้าและทัศนศึกษามาผ่านสื่อสารคดีแล้ว นักเรียนคิดว่าสามารถถ่ายทอดในรูปแบบใดได้อีก ที่สามารถให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย โดยที่ไม่ต้องผ่านตัวหนังสือ?
- ในละครที่เราจะแสดง ๑ เรื่องจะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?
- การเขียนเค้าโครงบทละคร มีประโยชน์อย่างไรกับการแสดงละครของเรา?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากการไป            ทัศนศึกษานอกเนื่องจากการทำสื่อสารคดี
- Brainstorms  ระดมความและแสดงความคิดร่วมกันในการออกแบบเขียนเค้าโครงบทละครทางด้านประวัติศาสตร์
- Wall  Thinking  เค้าโครงบทละครทางด้านประวัติศาสตร์
- Wall Thinking  ชิ้นงาน
- Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เค้าโครงบทละคร

จันทร์ ( 2 ชั่วโมง )
ชง :
- ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นอกจากการนำเสนอความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ที่นักเรียนได้ไปค้นคว้าและทัศนศึกษามาผ่านสื่อสารคดีแล้ว นักเรียนคิดว่าสามารถถ่ายทอดในรูปแบบใดได้อีก ที่สามารถให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย โดยที่ไม่ต้องผ่านตัวหนังสือ?
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน โดยผ่านเครื่องมือ(Round Rubin)  
- จากการแบ่งกลุ่มในการถ่ายทำสารคดีออกเป็น 4 กลุ่ม  แล้วในสัปดาห์นี้จะเอา 4 กลุ่มดังกล่าว มารวมกันให้เป็น 3 กลุ่ม
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ในละครที่เราจะแสดง ๑ เรื่องจะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?
- “การเขียนเค้าโครงบทละคร มีประโยชน์อย่างไรกับการแสดงละครของเรา?
- ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกันภายในกลุ่ม
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกย้ายเพื่อพูดคุย แลกเปลี่ยน ในการเขียนเค้าโครงบทละคร การตั้งชื่อเรื่อง ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด เสนอแนะ สนทนา ร่วมกันทำเค้าโครงบทละครตามที่ได้รับมอบหมายงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเค้าโครงบทละครมานำเสนอแลกเปลี่ยนกัน โดยผ่านเครื่องมือคิด (Show and Share)
- ทบทวนบทละคร/ฝึกซ้อมละคร ตามกลุ่มที่จัดแบ่งไว้
- นักเรียนนำเค้าโครงบทละครที่ได้ไปใช้ในการฝึกซ้อม ทบทวนบทบาทสมมติที่ตนเองได้รับ
นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
หมายเหตุ วันพุธที่ 4 มีนาคม 2558  เป็นวันหยุดเนื่องในวันมาฆบูชา

ภาระงาน
- ระดมความคิดในการเขียนบทละครทางด้านประวัติศาสตร์
- ฝึกซ้อมบทละครตามเค้าโครงที่ได้ออกแบบ

ชิ้นงาน
- เค้าโครงบทละครทางด้านประวัติศาสตร์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8

ความรู้
นักเรียนสามารถออกแบบการการเขียนเค้าโครงบทละครและฝึกซ้อมละครทางด้านประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์และมีวิจารณญาณ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถออกแบบเขียนบทละครได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
- สามารถสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าผ่านบทละคร
ทักษะการคิด
- สามารถเรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการศึกษาให้เป็นขั้นตอน
- คิดวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลและลำดับเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟที่ได้จากการไปทัศนศึกษาผ่านการเขียนเค้าโครงบทละครได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- สามารถคิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
พบเห็นจากการไปทัศนศึกษาสู่การทำสื่อ เช่น สื่อสารคดี ใช้ในการแสดงละคร
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย

เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 9: นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจจากการศึกษาค้นผ่านบทละครได้อย่างสร้างสรรค์
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
9

10 - 14
มี.ค.
2558
โจทย์ : เตรียมการวางแผนสรุป Quarter ที่ 4
Key  Questions :
- นักเรียนมีวิธีถ่ายทอดสิ่งที่ศึกษาผ่านมาเกี่ยวกับหน่วย รถไฟสายมรณะให้ผู้อื่นรับทราบได้อย่างไร?
- นักเรียนจะนำเสนอในการสรุปองค์ความรู้ Quarter นี้ อย่างไรให้น่าสนใจ?
- การเตรียมตัวของนักเรียนในการจัดนิทรรศการสรุป Quarter มีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง?
- ตลอดทั้งสัปดาห์นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
- ตลอดทั้ง Quarter นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้จากการแสดงละคร
- Wall Thinking  ชิ้นงาน
- Show and Share  สรุปองค์ความรู้ความเข้าใจตลอดทั้ง Quarter
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- กระดาษบรู๊ฟ
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน

- ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา แล้วทบทวนสิ่งที่ได้จากการแสดงละครเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ผ่านเครื่องมือคิด (Round Robin) 
- นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นจากการแสดงละครในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนมีวิธีถ่ายทอดสิ่งที่ศึกษาผ่านมาเกี่ยวกับหน่วย รถไฟสายมรณะให้ผู้อื่นรับทราบได้อย่างไร?”
- นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเตรียมห้องและออกแบบการนำเสนอเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นรับทราบในรูปแบบที่หลากหลายลงในกระดาษปรู๊ฟ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะนำเสนอในการสรุปองค์ความรู้ Quarter นี้ อย่างไรให้น่าสนใจ?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสะท้อนในประเด็นคำถามร่วมกัน
- นักเรียนนำแผนงานที่เตรียมห้องและออกแบบไว้มาดำเนินการจัดเตรียมนิทรรศการร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “การเตรียมตัวของนักเรียนในการสรุปองค์ความรู้ Quarter มีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสะท้อนในประเด็นคำถามร่วมกัน
- นักเรียนนำแผนงานที่เตรียม/และออกแบบไว้มาดำเนินการจัดเตรียมนิทรรศการร่วมกัน (ต่อ)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ตลอดทั้งสัปดาห์นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ตลอดทั้ง Quarter นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด (Show and Share)  
- นักเรียนแต่ละคนทำสรุปการเรียนรู้ Quarter 4 ผ่านชิ้นงาน Mind Mapping

ภาระงาน
- ออกแบบการสรุป Quarter ที่ 4
- เตรียมตัวและเตรียมความพร้อมในการถ่ายทอดองค์ความรู้/ความเข้าใจ

ชิ้นงาน
- การออกแบบการนำเสนอผลงาน
- สรุปการเรียนรู้ Quarter ที่ 4
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9


ความรู้
นักเรียนสามารถออกแบบและวางแผนการนำเสนอความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือ /อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
- สามารถสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้า
ทักษะการแก้ปัญหา
สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการคิด
สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- สามารถคิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
พบเห็นจากการไปทัศนศึกษาและการค้นคว้าสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้
 - มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 10: นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับกับหน่วยทางรถไฟสายมรณะมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดชี้ให้เห็นคุณค่า แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
10

17 - 21
มี.ค.
2558
โจทย์ :
- ฝึกซ้อมการนำเสนอ
- สรุป ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้
- การประเมินตนเอง
Key  Questions :
- การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?
- จากการเรียนรู้หน่วย ทางรถไฟสายมรณะนักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่นักเรียนต้องพัฒนา เกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วยในครั้งนี้?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ไข
- Brainstorms ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผย แพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะให้ผู้อื่นเข้าใจ
- Mind Mapping หลังการเรียนรู้
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน  แสดงละครและสารคดี
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู (ผู้อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้/กระตุ้นการคิด)
- นักเรียน (ผู้ร่วมเรียนรู้)
- นักเรียน คุณครู ที่เข้าร่วมนิทรรศการสรุป Quarter
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ผลงานต่าง ๆ ที่นักเรียนนำเสนอ
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน

- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?”
- นักเรียนนำเสนอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นคำถาม ผ่านเครื่องมือ (Round Robin)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากการเรียนรู้หน่วย ทางรถไฟสายมรณะ นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วยทางรถไฟสายมรณะในครั้งนี้
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมลงใน A4
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ตลอดทั้งสัปดาห์นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนร่วมกันฝึกซ้อมเตรียมนำเสนอผลงาน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดจากการเรียนรู้หน่วย ทางรถไฟสายมรณะนักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่นักเรียนต้องพัฒนา เกี่ยวกับการเรียนรู้โครงงานในครั้งนี้?
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาและแลกเปลี่ยน คำถาม ข้อสงสัยจากสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอีกครั้ง
- นักเรียนเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านการนำเสนอ การแสดงละคร และสารคดีทางด้านประวัติศาสตร์เกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะ
- นักเรียนทุกคน Show and Share นำเสนอ สรุป   ความเข้าใจรายสัปดาห์ ให้ครูและเพื่อนๆฟัง
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน

ภาระงาน
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะให้ผู้อื่นเข้าใจ

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว
และสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10

ความรู้
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยทางรถไฟสายมรณะผ่านละคร สารคดี ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม 
- การถ่ายทอด การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์
ทักษะการคิด
การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษาเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
 ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนในรูปแบบต่างๆที่น่าสนใจ (นำเสนอผลงาน สารคดี ละคร )
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตาม เป้าหมาย













ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : ทางรถไฟสายมรณะ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2557 Quarter 4
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อหน่วย
- เลือกหัวข้อ
- ตั้งชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาสิ่งที่อยากแก้ไขตามความสนใจ
(ว 8.1 .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าเสนอวิธีสำรวจตรวจสอบสิ่งที่อยากเรียนรู้หน่วย ทางรถไฟสายมรณะ
(ว
8.1 .4/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไขเกี่ยวกับหน่วย ทางรถไฟสายมรณะ

(ว 8.1 .4/5)
- นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหา สิ่งที่อยากเรียนรู้ ปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจในรูปแบบของชาร์ตความรู้

(ว 8.1 .4/8)
มาตรฐาน 5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมหลังการสร้างทางรถไฟ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้
(ส 5.2 .4/2)
มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมตั้งชื่อหน่วย และสร้างปฏิทินการเรียนรู้ได้ (ส 2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างการเรียนรู้ร่วมกันได้ (ส
2.1 .4/5)



มาตรฐาน ส 4.2
 อธิบายพัฒนาการและที่มาของการก่อสร้างทางรถไฟสายมรณะ จากการดูคลิปวีดีโอ “พื้นที่ชีวิต-ทางรถไฟสายมรณะ” (ส 4.2 .4/1)

มาตรฐาน 2.1
แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 .4/2)
มาตรฐาน
4.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้
(พ
4.1 .4/1)

มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงาน ทำป้ายตกแต่งห้อง และปฏิทิน (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
                  (ศ 1.1 .4/5)


มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง
1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
- สำรวจแหล่งประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น (ป่าโคกหีบ)
- แยกแยะและจัดหมวดหมู่หลักฐานทางประวัติศาสตร์
- สรุปข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- นำเสนอข้อมูล
มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาแหล่งศึกษาหลักฐานทางประวัติ- ศาสตร์ตามความสนใจได้
(ว 8.1 .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าเสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหลักฐานทางประวัติศาสตร์บุหีบ (ป่าโคกหีบ) (ว
8.1 .4/2)
- สามารถเลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการสำรวจได้ (ว 8.1 .4/3)
- บันทึกข้อมูลจากการสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แล้วนำมาสรุปผลร่วมกันได้
(ว 8.1 .4/4)
- สามารถสร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่สำรวจมาได้

(ว 8.1 .4/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นและการสรุปสิ่งที่
มาตรฐาน 5.2
- อธิบายการสภาพแวดล้อมทางกายภาพของป่าโคกหีบ ที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนบ้านกวางงอย
(ส 5.2 .4/1)
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในป่าโคกหีบและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ต่อชุมชนและสิ่งมีชีวิตอื่นได้
(ส 5.2 .4/2)
- มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภายในป่าโคกหีบ
(ส 5.2 .4/3)

มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมเดินทางสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในป่าโคกหีบได้ (ส 2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการเดินทางร่วมกันภายในกลุ่ม เพื่อเดินทางสำรวจหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในป่าโคกหีบ อย่างสันติสุขระหว่างการเรียนรู้ร่วมกันได้                            (ส
2.1 .4/5)



มาตรฐาน ส 4.1
แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น (ส 4.1 .4/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในบุหีบ ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2 .4/2)

มาตรฐาน 2.1
แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 .4/2)
มาตรฐาน
4.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้
(พ
4.1 .4/1)

มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงาน ทำชาร์ตสรุปหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำรวจพบ (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
                  (ศ 1.1 .4/5)


มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง
1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

ได้เรียนรู้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น(ว 8.1 .4/6)
- สามารถเขียนสรุปผลและอธิบายการสำรวจได้ได้อย่างมีวิจารณญาณ
(ว 8.1 .4/7)
- สามารถอภิปรายข้อมูลจากการสำรวจร่วมกับผู้อื่นได้ (ว 8.1 .4/8)








สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
สงครามโลกครั้งที่ 2
- ความเกี่ยวพันธ์ของสงครามโลกครั้งที่ 1 กับ 2
- สงครามโลกครั้งที่ 2 กับการสร้างรถไฟสายมรณะ
- การเปรียบเทียบศักราช พ../               
มาตรฐาน 6.1
สำรวจและอธิบายการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของดินบริเวณสำรวจหลักฐานทางประวัติ- ศาสตร์ในป่าโคกหีบ
(ว 6.1 .4/1)
มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาของการเกิดสงครามโลก ตามความ
มาตรฐาน 5.1
ระบุแหล่งทรัพยากรและพื้นที่ต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ สงครามโลกครั้งที่ 1 และ2 ด้วยแผนที่                             (ส 5.1 .4/2)
มาตรฐาน 5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมจากภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 และผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมกลุ่ม  (ส 2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน จากการเรียนรู้ความขัดแย้งในอดีต                            
(ส 2.1 .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1
- นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษศตวรรษ และสหัสวรรษ และการเปรียบเทียบศักราช
(ส 4.1 .4/1)
- แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น (ส
4.1 .4/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในบุหีบ ที่แสดง
มาตรฐาน 2.1
แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 .4/2)
มาตรฐาน
4.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้
(พ
4.1 .4/1)

มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงาน (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
                  (ศ 1.1 .4/5)
มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง
1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
../ค.ศ ฯลฯ
สนใจได้
(ว 8.1 .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบข้อมูลทางประวัติศาสตร์             (ว
8.1 .4/2)
- บันทึกข้อมูลในการค้นคว้า นำเสนอผล สรุปผล
(ว 8.1 .4/4)
- สามารถสร้างคำถามใหม่เพื่อสำรวจ ตรวจสอบต่อไป

(ว 8.1 .4/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นและการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย                          (ว
8.1 .4/6)

(ส 5.2 .4/2)


พัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2 .4/2)





สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
การสร้างรถไฟสายมรณะ
- ประวัติศาสตร์               
มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือ
มาตรฐาน ส 3.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์การ
มาตรฐาน 2.1
- แลดงและอธิบายคุณลักษณะของความเป็น
มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับ
มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
การสร้างรถไฟสายมรณะ
- แผนที่                             - ถ่ายทำสารคดี
- วางแผนการเดินทางไป      ทัศนศึกษา
                                   - ทัศนศึกษาทางรถไฟสายมรณะ                         - สร้างสื่อ     สารคดี

สถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งประเด็นปัญหาการวางแผนการเดินทาง (ว 8.1 .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า การเดินทาง เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบข้อมูลและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการค้นคว้า และทัศน-ศึกษา (ว 8.1 .4/2)
- บันทึกข้อมูลในการค้นคว้า ทัศนศึกษานำเสนอผล สรุปผล
(ว 8.1 .4/4)
- สามารถสร้างคำถามใหม่จากการค้นคว้า            ทัศนศึกษา การทำสารคดี เพื่อตรวจสอบต่อไป
(ว 8.1 .4/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นและการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ จากการทัศนศึกษาและแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย (ว
8.1 .4/6)
- สามารถบันทึก สรุปผลและอธิบายการศึกษาค้นคว้าจากการทัศนศึกษา
ระหว่างการเดินทางไปทัศนศึกษา (ส 3.1 .4/1)
- สิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บิโภค ระหว่างการเดินทางไปทัศนศึกษา (ส 3.1 .4/2)
- อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองระหว่างการเดินทางไปทัศนศึกษา
(ส 3.1 .4/3)
มาตรฐาน 5.1
- ใช้แผนที่ ภาพถ่าย ระบุลักษณะสำคัญทางกายภาพ ของเส้นทางรถไฟสายมรณะและพื้นที่ใกล้เคียง (ส 5.1 .4/1)
- ระบุแหล่งทรัพยากรและพื้นที่ต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ การสร้างทางรถไฟสายมรณะด้วยแผนที่
(ส 5.1 .4/2)
- ใช้แผนที่อธิบายเส้นทางการเดินทาง และความ สัมพันธ์ของการสร้างทาง
ระหว่างการร่วมกิจกรรมกลุ่มและการเดินทางไปทัศนศึกษา  (ส 2.1 .4/2)
- อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในพื้นที่ที่ไปทัศนศึกษากับพื้นที่ท้องถิ่นของตนได้
(ส 2.1 .4/4)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในทำกิจกรรมกลุ่มและทัศน
-ศึกษา (ส
2.1 .4/5)
สร้างทางรถไฟสายมรณะ โดยสังเขป  (ส 4.1 .4/2)
- แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของการสร้างทางรถไฟสายมรณะ                   (ส 4.1 .4/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในการศึกษาการสร้างรถไฟสายมรณะ ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2 .4/2)

เพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว (พ 2.1 .4/1)
- แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชาย และหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ
2.1 .4/2
มาตรฐาน 4.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพได้ (พ 4.1 .4/1)
- วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อการบริโภค (พ 4.1 .4/3)

อิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงาน (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี
                  (ศ 1.1 .4/5)
มาตรฐาน 1.2
ระบุและบรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ในเหตุการณ์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ จากการทัศนศึกษา (ศ 1.2 .4/2)
อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ง
1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)
มาตรฐาน 3.1
- ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อการทำชิ้นงาน (ง 3.1 .4/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

และจากการสร้างสื่อ             สารคดีได้อย่างมีวิจารณญาณ (ว 8.1 .4/7)
- สามารถนำเสนอ อภิปรายผลงาน ด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการ หรืออธิบายด้วยสื่อที่หลากหลายให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว 8.1 .4/8)


รถไฟกับสิ่งต่างๆ                   (ส 5.1 .4/3)
มาตรฐาน 5.2
- อธิบายสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการสร้างทางรถไฟสายมรณะ และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนได้ (ส 5.2 .4/1)
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมจากเหตุการณ์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ  และผลที่เกิดจากกาเปลี่ยนแปลงนั้น (ส 5.2 .4/2)







สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ละครทางด้านประวัติศาสตร์
- การเขียนเค้าโครงบทละคร
-การฝึกซ้อมละครตามบทบาทสมมติ
-การถ่ายทอด
มาตรฐาน 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งประเด็นปัญหาการแสดงละคร                           (ว 8.1 .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 3.1
อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง ในการวางแผนการแสดงละคร
(ส 3.1 .4/3)
มาตรฐาน 5.2
มาตรฐาน 2.1
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ส 2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในทำกิจกรรมกลุ่มและทัศน-
มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ โดยสังเขปผ่านการแสดงละคร  (ส 4.1 .4/2)
- แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความ
มาตรฐาน 2.1
- แลดงและอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว (พ 2.1 .4/1)
- แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชาย และหญิงขณะทำกิจกรรม
มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่ง              (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้
มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
ความเข้าในทางด้านประวัติศาสตร์ผ่านการแสดงละคร
การศึกษาค้นคว้า เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบข้อมูลและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการค้นคว้าข้อมูลประกอบการแสดงละคร (ว 8.1 .4/2)
- สามารถสร้างคำถามใหม่จากการค้นคว้า            ลงมือปฏิบัติ  เพื่อตรวจ สอบต่อไป (ว 8.1 .4/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นและการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (ว 8.1 .4/6)
- สามารถบันทึก สรุปผลและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้าผ่านการแสดงละครได้อย่างมีวิจารณญาณ (ว 8.1 .4/7)
- สามารถนำเสนอ อภิปรายผลงาน ด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการ หรืออธิบายด้วยสื่อที่หลากหลายให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว 8.1 .4/8)

- อธิบายสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการสร้างทางรถไฟสายมรณะ และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนได้ผ่านการแสดงละคร (ส 5.2 .4/1)
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมจากเหตุการณ์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ  และผลที่เกิดจากกาเปลี่ยนแปลงนั้น ผ่านการแสดงละคร (ส 5.2 .4/2)

ศึกษา (ส 2.1 .4/5)
เป็นมาและลำดับเหตุการณ์ของการสร้างทางรถไฟสายมรณะ (ส 4.1 .4/3)

และเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ 2.1 .4/2)
มาตรฐาน 3.1
- ควบคุมตนเอง ใช้ทักษะการเคลื่อนไหว ในลักษณะผสมผสาน                 (พ 3.1 .4/1)
ผลงาน วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี                   (ศ 1.1 .4/5)
มาตรฐาน 3.1
- ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์(ศ 3.1 .4/1)
- ใช้ภาษาท่าและศัพท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว                   (ศ 3.1 .4/2)
- แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน (ศ 3.1 .4/3)
- แสดงนาฏศิลป์หรือการละครเป็นคู่ เป็นหมู่
(ศ 3.1 .4/4)
- เล่าสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดง โดยเน้นจุดสำคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของตัวละคร (ศ 3.1 .4/5)
(ง 1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)




สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
สรุปองค์ความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
มาตรฐาน 8.1
- สามารถสร้างคำถามใหม่จากการค้นคว้า            ลงมือปฏิบัติ  เพื่อตรวจ สอบต่อไป (ว 8.1 .4/5)
- สามารถแสดงความคิดเห็นและการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ (ว 8.1 .4/6)
- สามารถบันทึก สรุปผลและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้าได้อย่างมีวิจารณญาณ (ว 8.1 .4/7)
- สามารถนำเสนอ อภิปรายผลงาน ด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการ หรืออธิบายด้วยสื่อที่หลากหลายให้ผู้อื่นเข้าใจ (ว 8.1 .4/8)

มาตรฐาน 1.1
- ชื่นชมการทำความดี/การแสดงออกในเชิงบวก ของตนเอง ผู้อื่น บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน (ส 1.1.4/5)
มาตรฐาน ส 3.1
อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง ในการวางแผนนำเสนอสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
(ส 3.1 .4/3)

มาตรฐาน 2.1
- ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน/โรงเรียม (ส 2.1 .4/1)
- เข้าใจ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ส
2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในทำกิจกรรมกลุ่มและ ทัศน-ศึกษา (ส 2.1 .4/5)
มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ โดยสังเขป (ส 4.1 .4/2)
- แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาและลำดับเหตุการณ์ของการสร้างทางรถไฟสายมรณะ (ส 4.1 .4/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในการศึกษาการสร้างรถไฟสายมรณะ ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนแถบนี้
(ส 4.2 .4/2)

มาตรฐาน 2.1
- แลดงและอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว (พ 2.1 .4/1)
- แสดงพฤตกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชาย และหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม (พ
2.1 .4/2)
มาตรฐาน 3.1
- ควบคุมตนเอง ใช้ทักษะการเคลื่อนไหว ในลักษณะผสมผสาน                 (พ 3.1 .4/1)
มาตรฐาน 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและเย็นที่มีผลต่ออารมณ์ ผ่านการวาดภาพตกแต่ง              (ศ 1.1 .4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้ผลงาน วัสดุและอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี (ศ 1.1 .4/5)
มาตรฐาน 3.1
- ใช้ภาษาท่าและศัพท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว                   (ศ 3.1 .4/2)
- แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน (ศ 3.1 .4/3)
- แสดงนาฏศิลป์หรือการละครเป็นคู่ เป็นหมู่
(ศ 3.1 .4/4)
- เล่าสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดง โดยเน้นจุดสำคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของตัวละคร (ศ 3.1 .4/5)

มาตรฐาน 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้ (ง 1.1 .4/1/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น     (ง 1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง
1.1 .4/4)